โดย Annie Handicraft เมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2011 เวลา 15:19 น.
The Director-General of UNESCO, Irina Bokova, today reiterated her call for calm and restraint around the Temple of Preah Vihear, inscribed on the World Heritage List in 2008. A border dispute between Cambodia and Thailand caused several deaths and damage to the site in recent days.
"I intend to send a mission to the area as soon as possible to assess the state of the temple" she said. “World Heritage sites are the heritage of all humanity and the international community has a special responsibility to safeguard them. This requires a collective effort that must be undertaken in a spirit of consultation and dialogue. Heritage should unite people and serve as an instrument of dialogue and mutual understanding and not of conflict.”
ตอน ขึ้นมรดกโลกรัฐบาลไทยได้คัดค้านและเตือนว่าหากมีการขึ้นทะเบียนก็จะทำให้ ความขัดแย้งขยายวง และอาจนำไปสู่การสู้รบ แต่กรรมการมรดกโลกไม่รับฟังข้อทักท้วงของไทย และยังเห็นว่าการขึ้นทะเบียนไม่เกี่ยวกับเรื่องเขตแดน
การ ขึ้นทะเบียนเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 กค.2551 ตลอดช่วงที่ผ่านมาเกิดการเผชิญหน้าตลอด เพราะกัมพูชาต้องการเอาพื่นที่บางส่วนในพื้นที่ 4.6 ตร.กม. เข้าไปอยู่ในแผนบริหารจัดการ มรดกโลกไม่พยายามรับรู้ปัญหาที่เกิดขึ้น การออกข่าวอย่างที่ผู้อำนวยการ UNESCO นางIrina Bokova ให้สัมภาษณ์ทำให้ภาพลักษณ์ไทยเป็นคนเกเรในสายตาคนที่ไม่ได้ติดตามข่าวสาร เรื่องทั้งหมดที่เกิดขึ้นขณะนี้ก็เป็นการวางแผนของฮุนเซ็น เพื่อให้ยูเอ็นเข้ามา อ้างว่าถูกกระทำแต่กลับระดมยิงปืนใหญ่ใส่ประชาชนในพื้นที่ชายแดน
"มรดก โลกเป็นมรดกของมนุษยชาติและประชาคมโลกต้องมีความรับผิดชอบเป็นพิเศษเพื่อปก ปักรักษามรดกโลกเหล่านี้ ที่ต้องการความร่วมมือร่วมกันด้วยการปรึกษาหารือกันพูดคุยเพื่อรักษามรดก เหล่านี้ไว้ มรดกโลกควรเป็นเรื่องของความร่วมมือที่ประชาชนมารวมกันเป็นช่องทางในการ เจรจาพูดคุยเพื่อความเข้าใจที่ดีต่อกันไม่ใช่เป็นเรื่องของความขัดแย้ง" เป็น ส่วนหนึ่งของความเห็นของนาง Irinaฟังดูดีมาก แต่การที่กัมพูชาเดินหน้าเอาพื้นที่ของไทยเข้าไปรวมในแผนบริหารจัดการของ กัมพูชาที่จะเข้าสู่การพิจารณาของกรรมการมรดกโลกกลางปีนี้ เป็นเรื่องของอธิปไตยและบุรณภาพแห่งดินแดน กลับไม่มีการพูดถึง
สะท้อน บอกอย่างดีถึงความร่วมมือที่ชาติมหาอำนาจนำโดยฝรั่งเศส ใช้เครื่องมือผ่านUNESCO เพื่อสนับสนุนกัมพูชา เหมือนอย่างที่ครั้งหนึ่งชาติมหาอำนาจในศาลโลก เอาปราสาทพระวิหารที่อยู่ใต้สันปันน้ำที่เป็นแนวเขตแดนตามอนุสัญญาฝรั่งเศส ปีคศ. 1904 ไปมอบให้กัมพูชา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น