บล็อกนี้เป็นเพียงช่องทางรวบรวมข้อมูลข่าวสารจากที่ต่างๆ ผู้จัดทำไม่ได้มีเจตนาบิดเบือนข้อมูลข่าวสารหรือต้องการให้ร้าย องกรณ์ หน่วยงานและบุคคลใดๆทั้งสิ้น+++++ หากบทความใดผิดพลาดหรือกระทบต่อ องกรณ์ หน่วยงาน หรือบุคคลใด ผู้จัดทำก็กราบขออภัยไว้ล่วงหน้า +++++ ผู้อ่านท่านใดมีข้อมูลหักล้าง ชี้แนะ หรือมีความเห็นใดๆเพิ่มเติมก็ขอความกรุณาแสดงความเห็นเพื่อให้เป็นความรู้สำหรับผู้อ่านท่านต่อๆไปได้ตามแต่จะเห็นสมควร ------------- ขอขอบคุณเจ้าของบทความทุกๆท่านมา ณ. ที่นี้ด้วยครับ *******ช.ช้าง *******

วันจันทร์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

รวมข้อมูลเกี่ยวกับคดีปราสาทพระวิหาร โดย Verapat Pariyawong - วีรพัฒน์ ปริยวงศ์

พระวิหาร: 

ปราสาท                        

ที่ขาดเจ้าหญิง

รวมรูปภาพ เอกสาร ข้อมูล และบทความเกี่ยวกับคดีปราสาทพระวิหาร





วันที่ 26 พฤษภาคม 2554 เป็นวันครบรอบ 50 ปี คำพิพากษาศาลโลกฉบับแรกในประวัติศาสตร์ไทย โดยศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือ "ศาลโลก" ได้รับคดีประสาทพระวิหารไว้พิจารณา ต่อมาในปี 2505 ศาลวินิจฉัยว่าปราสาทพระวิหารตั้งอยู่ในเขตกัมพูชาและให้ไทยถอนกำลังเจ้า หน้าที่ออกจาก "ปราสาทพระวิหารหรือบริเวณใกล้เคียงบนอาณาเขตของกัมพูชา" โดยศาลมิได้ระบุว่า "บริเวณใกล้เคียง" ดังกล่าวมีรายละเอียดเช่นใด. 

เดือน ที่แล้ว (เมษายน 2554) กัมพูชาได้ขอให้ศาลตีความคำพิพากษาดังกล่าวให้ชัดเจนมากขึ้น และขอให้ศาลระบุมาตรการคุ้มครองชั่วคราวให้ไทยถอนกำลังออกจากบริเวณปราสาท โดยเร่งด่วน ซึ่งไทยจะไปศาลโลกอีกครั้งช่วงสิ้นเดือนพฤษภาคมนี้.

ก่อน หน้านี้ผมได้มีโอกาสช่วยทำคดีความที่ฟ้องต่อศาลโลก แม้จะไม่เกี่ยวกับไทยแต่ก็เป็นกรณีพิพาทเรื่องเส้นเขตแดนแต่บรรดาที่ปรึกษา กฎหมายต่างนำคดีปราสาทพระวิหารมาศึกษาเป็นตัวอย่าง จึงอยากลองแบ่งปันมุมมองและนำข้อมูลข้อคิดเห็นอันหลากหลายที่ล้วนมีประโยชน์ มารวมไว้เพื่อผู้สนใจสามารถนำไปคิดต่อได้อย่างครบถ้วนไม่ว่าจะเห็นด้วยกับใคร.

ผู้ที่ไม่คุ้นกับพระวิหาร ผมเสนอให้ลองดู ภาพปราสาทที่ขาดเจ้าหญิง มีคำอธิบายประกอบสั้นๆ เบื้องต้น. หากใครรู้จักคำพิพากษาดี ผมเสนอให้ลองอ่าน "การถอดรหัส" ที่ หมายเหตุท้ายคำพิพากษา และแลกเปลี่ยนกันว่าคิดเห็นอย่างไร. ส่วนใครสนใจว่าคดีมีมาอย่างไร เสียดินแดนหรือไม่ จะเป็นอย่างไรต่อไป ผมได้รวบรวมข้อมูลน่าสนใจไว้ให้ได้ศึกษาด้านล่าง.

สำหรับคำถามหรือความเห็น เชิญคุยกันที่ กระดาน
 facebook ที่ท้ายหน้านี้ หรือทาง verapat@post.harvard.edu ก็ยินดีครับ.

หากน้ำฝนยังไหลลงมิเลือกฝั่ง ก็ขอส่งความหวังให้ชาวกันทรลักษ์ จอมกระสานต์และโดยรอบได้สันติภาพคืนมาโดยเร็ว
.





รวมข้อมูลเกี่ยวกับคดีปราสาทพระวิหาร

1. ข้อมูลแนะนำสำหรับเริ่มอ่าน 
รูปภาพ: ปราสาทที่ขาดเจ้าหญิง [ชมภาพ]
- ภาพรวมของเส้นเขตที่มีการอ้างถึง สันปันน้ำ และมรดกโลก. 

สมปอง สุจริตกุล - ปราสาทพระวิหาร 
- บทความโดยปรมาจารย์กฎหมายระหว่างประเทศผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับคดีตั้งแต่ สมัย พ.ศ. 2502-2505 เป็นบทความสำหรับการเริ่มต้นศึกษาประเด็น. 

วีรพัฒน์ ปริยวงศ์ - ย่อคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร (เฉพาะส่วนหลัก) (คดีที่ตัดสินไปแล้ว) [อ่าน]
- ย่อเหตุผลโดยรวมของคำพิพากษา (เสียงข้างมาก) พร้อมหมายเหตุถอดรหัสคำพิพากษา.
ข้อมูลเบื้องต้นกรณีการตีความคำพิพากษา (กรณีเหตุการณ์ปัจจุบัน) [อ่าน]
- ผมร่วมเขียนในฐานะอาสาสมัครวิกิพีเดีย ทุกคนสามารถร่วมปรับปรุงบทความได้.

รูปนักกฎหมายและบรรยากาศศาลโลก  [ชมภาพ]


ข้อมูลจากราชการ

ถาม-ตอบประเด็นข้อสงสัยเกี่ยวกับกรณีกัมพูชายื่นคำขอให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร [อ่าน]

ข้อมูลที่ประชาชนไทยควรทราบกี่ยวกับกรณีปราสาทพระวิหารและการเจรจาเขตแดนไทย-กัมพูชา 
[อ่าน]

ข่าวแนะนำ

การลงทะเบียนขอเข้าฟังการพิจารณา กรณีคำร้องขอให้ระบุมาตรการคุ้มครองชั่วคราว [อ่าน]

ฟิฟทีนมูฟ - แนะนำหนังสือใหม่ “ข้อมูลพื้นฐานพระวิหารกับศาลโลก จากข้อเขียน ศ. ดร. สมปอง สุจริตกุล” เรียบเรียงโดย ถ่ายเถา สุจริตกุล [อ่าน
   

2. คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505 (คดีที่ตัดสินไปแล้ว)
2.1 ข้อมูลเชิงสรุป

2.1.1 สมปอง สุจริตกุล - ปราสาทพระวิหาร  

2.1.2 ย่อคำพิพากษา
คดีปราสาทพระวิหาร (เฉพาะส่วนหลัก) [แนะนำให้อ่าน]

2.1.3 ย่อความเห็นแย้งและความเห็นเอกเทศของผู้พิพากษา [ผู้ใดมีข้อมูลโปรดชี้แนะ]

2.1.4 สรุปผลคำพิพากษา ดู เอกสารกระทรวงการต่างประเทศ [
]

2.1.5 ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช - "เหตุผลใดไทย จึงแพ้คดีปราสาทพระวิหาร" และ "46 ปีของคดีปราสาทพระวิหาร ความทรงจำที่ยากจะลืมเลือน"
[ผู้มีสำเนาต้นฉบับโปรดชี้แนะ]

2.2 คำพิพากษาฉบับเต็มและเอกสารในคดี (ภาษาอังกฤษ และ/หรือ ฝรั่งเศส) [เว็บไซต์ของศาลโลก]
2.2.1 คำพิพากษาฉบับภาษาอังกฤษ เฉพาะส่วนหลัก ไม่รวมความเห็นเอกเทศและความเห็นแย้งของผู้พิพากษา [อ่าน]
 - หมายเหตุ คำพิพากษามีฉบับภาษาฝรั่งเศสด้วย แต่กรณีมีข้อความขัดกันให้ถือฉบับภาษาอังกฤษเป็นหลัก.

2.2.2 หน้าตาของ "แผนที่ภาคผนวก 1" ต่อท้ายคำฟ้องกัมพูชา [ดูภาพ]

2.3 คำแปลคำพิพากษาการพิจารณาขั้นเนื้อหา แปลโดยรัฐบาลไทย

2.3.1 คำแปลเฉพาะคำพิพากษาส่วนหลัก 54 หน้า ไม่รวมความเห็นเอกเทศและความเห็นแย้งของผู้พิพากษา [อ่าน]
        (แนะนำให้อ่านบทย่อก่อน ดูตรงนี้)

2.3.2 คำแปลฉบับเต็ม 244 หน้า (ดูได้ที่ เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศ สารบัญอยู่ด้านท้ายของเอกสาร pdf.)
2.4 ท่าทีของรัฐบาลไทยและผู้เกี่ยวข้องหลังมีคำพิพากษา
2.4.1 เปิดจม.เสนีย์-ถนัด คอมันตร์ ชี้ชัดปราสาท[พระวิหาร]ของ"เขมร"อยู่บนแผ่นดิน"ไทย" 
 
[link สำรอง] [ผู้มีสำเนา
เอกสาร
ต้นฉบับโปรดชี้แนะ]

2.4.2 รัฐบาลไทยประท้วงคำตัดสินของศาลโลก 
 [ผู้มีสำเนาเอกสารต้นฉบับหรือคำแปลทางการโปรดชี้แนะ]

2.4.3 ท่าทีรัฐบาลไทยล่าสุด โปรดดู คำแถลงกระทรวงการต่างประเทศ

3. การขอให้ตีความคำพิพากษา (เหตุการณ์ปัจจุบัน - ยังอยู่ในศาลโลก) 

3.1 ข้อมูลเชิงสรุป

3.1.1 ข้อมูลเบื้องต้นกรณีการตีความคำพิพากษา (คดีปัจจุบัน) [แนะนำให้อ่าน]

3.1.2 กระทรวงการต่างประเทศ - ถาม-ตอบประเด็นข้อสงสัยเกี่ยวกับกรณีกัมพูชายื่นคำขอให้ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร [แนะนำให้อ่าน]

3.1.3  
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี - 
 
เปิดคำร้องกัมพูชาขอให้ศาลโลกตีความคำพิพากษาคดีพระวิหาร [อ่าน] 

3.2 ข้อมูลในคดี [จาก เว็บไซต์ศาลโลก]

3.2.1 วันที่ 28 เม.ย. 54 กัมพูชายื่นคำร้องขอให้ศาลตีความคำพิพากษา (ภาษาฝรั่งเศส) [อ่าน]  [link สำรอง]  

3.2.2 วันที่ 28 เม.ย. 54 กัมพูชายื่นคำร้องขอให้ศาลระบุมาตรการคุ้มครองชั่วคราว (ภาษาฝรั่งเศส) [อ่าน]  [link สำรอง]   

3.2.3 วันที่ 2 พ.ค. 54 ศาลโลกแจ้งข่าวสารนิเทศเกี่ยวกับคดี (ภาษาอังกฤษ) [อ่าน]  [link สำรอง]    

3.2.3 การลงทะเบียนขอเข้าฟังการพิจารณา กรณีคำร้องขอให้ระบุมาตรการคุ้มครองชั่วคราว [อ่าน]

3.3 บทความที่เกี่ยวข้อง 

3.3.1 นิติราษฏร์ ฉบับ ๒๐ (ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช) - ข้อสังเกตเกี่ยวกับการตีความคำพิพากษาของศาลโลกคดีปราสาทพระวิหาร [อ่าน] 

3.3.2 เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง - เขมร-ไทย กับศาลโลก: เขมรขอตีความคำพิพากษา พ.ศ.2505 ไม่ใช่พิจารณาคดีใหม่ [อ่าน

3.3.3 พวงทอง ภวัครพันธุ์ - นัยของการยื่นศาลโลกตีความคำพิพากษาปี 2505 ของกัมพูชา [อ่าน

3.3.4 สมปอง สุจริตกุล - พระวิหารกับศาลโลก ๒๕๕๔ [อ่าน] 

  
4. เอกสารน่าสนใจ - ไทยเสียดินแดนหรือไม่?

หมายเหตุ ผมเลือกข้อมูลที่มีมุม มองหลากหลายและบางครั้งหักล้างกันได้น่าสนใจ สามารถนำมาคิดต่อได้ไม่ว่าจะเห็นด้วยกับใคร โดยเรียงลำดับในลักษณะที่น่าจะช่วยให้ประมวลข้อมูลได้ง่ายครับ. 

สถาบันพระปกเกล้า - การเมืองเรื่องเขาพระวิหาร 
[
]

นพดล ปัทมะ - ลําดับความเป็นมากรณีปราสาทพระวิหาร [
]

กระทรวงการต่างประเทศ - สมุดปกขาว “กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก” 

สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - รัฐบาลไทยทำอะไรในปัญหาพระวิหาร 

ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ - ตามคำเรียกร้อง “ภาพนี้มีคำถาม”  

พรรคประชาธิปัตย์ - 
MOU 2543 ของจริง : ทำความเข้าใจประเด็นสำคัญ 
     - MOU ฉบับเต็ม - บันทึกความเข้าใจ (MOU) ระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลกัมพูชาว่าด้วยการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบก พ.ศ. 2543 [

พรรคเพื่อไทย - 'พท.'ออกแถลงการณ์ ‘ปราสาทพระวิหาร’ [อ่าน]

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย - 33 ประเด็น ถาม-ตอบ ราชอาณาจักรไทยกำลังจะเสียดินแดน [อ่าน
ลองเทียบกับ
พรรคประชาธิปัตย์ - ราชอาณาจักรไทยคือสิ่งที่รัฐบาลและคนไทยจะร่วมกันปกป้อง  

ม.ล.วัลย์วิภา จรูญโรจน์ บุรุษรัตนพันธุ์ และเครือข่ายฯ - เอกสาร MOU43 จะทำให้ประเทศไทยเสียดินแดนจริงจริง [อ่าน]
ลองเทียบกับ
พรรคประชาธิปัตย์ -  MOU 2543 ทำให้ประเทศไทยเสียดินแดนจริงหรือ  

ฟิฟทีนมูฟ - จุดยืนที่เหนือกว่า โดย ศ.ดร. สมปอง สุจริตกุล [อ่าน

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี: เหตุผลของคนแพ้ (คดีปราสาทพระวิหาร) [อ่าน

พวงทอง ภวัครพันธุ์ - ปราสาทพระวิหาร เอ็มโอยู 2543 และแผนที่ [อ่าน] 

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี - พระวิหาร: เก้าคำถามคาใจไทยทั้งชาติ 
 

บันทึกเครือข่ายภาคประชาชนกรณีข้อเท็จจริงกรณีปราสาทพระวิหารและพื้นที่โดยรอบ [อ่าน

พวงทอง ภวัครพันธุ์ - มายาคติว่าด้วยพื้นที่ทับซ้อนกับทางตันในการแก้ไขปัญหาไทย-กัมพูชา 

อัครพงษ์ ค่ำคูณ - คำเตือน 5 ข้อ สำหรับประเทศไทย เกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร 
[อ่าน]

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ - ปราสาทเขาพระวิหาร-กรณีศึกษาประวัติศาสตร์ การเมือง-ลัทธิชาตินิยม [อ่าน

ปิลันธน์ ไทยสรวง - ถอดเทปงานเสวนา ปราสาทเขาพระวิหาร ควรทบทวนด้วยบริบทการเมืองหรือวัฒนธรรม [อ่าน

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ - เขาพระวิหาร: มรดกโลกของเขมร [อ่าน

ศรีศักร วัลลิโภดม - สยามพ่ายเพราะไทยถ่อย [อ่าน

(ด้วยเวลาที่มีอยู่จำกัดจึงเลือกเรื่องดินแดนเป็นหลัก แต่ความจริงประเด็นปราสาทพระวิหารมีหลายมิติสำคัญที่ควรนำมาศึกษาทบทวน เช่น การเยียวยาความเสียหายและให้ความเป็นธรรมต่อผู้ได้รับผลกระทบ หลักมนุษยธรรมกับการใช้อาวุธสงคราม ความโปร่งใสของรัฐบาล บทบาทของนิติบัญญัติ ตุลาการและองค์กรไทยที่เกี่ยวข้อง (เช่น คดีรัฐธรรมนูญ ม. 190 และแถลงการณ์ ร่วมฯ  คดีที่เกี่ยวข้องในศาลปกครอง รวมไปถึงการตรวจสอบการทุจริตโดย ปปช.) ตลอดจนประสิทธิภาพของสื่อมวลชนและวงวิชาการไทยตั้งแต่มหาวิทยาลัยไปถึงผู้ทำ บทเรียนประถม  ฯลฯ ความสามารถของประเทศไทยในการจัดการกรณีพระวิหารในวันนี้จะเป็นกระจกประวัติ ศาสตร์ที่สะท้อนสภาพสังคมไทยได้อย่างดี)


5. แหล่งข้อมูลสำหรับอ่านเพิ่มเติม (ไม่ได้เรียงโดยเจาะจง)

ศูนย์สถานการณ์พื้นที่เขาพระวิหารและชายแดนไทย-กัมพูชา กระทรวงการต่างประเทศ [อ่าน]

ASTV ผู้จัดการออนไลน์ - ประมวลข่าว สถานการณ์เขาพระวิหาร และชายแดนไทย-กัมพูชา 2554 [อ่าน] 

มติชนออนไลน์ ประมวลข่าวกรณีพระวิหาร [อ่าน] 

ประชาไท - รวมข่าวและบทความเขาพระวิหาร [อ่าน]

ประชาไท - เสวนา : ชาญวิทย์ เกษตรศิริ : กรณีปราสาทเขาพระวิหาร ลัทธิชาตินิยมภาค 3 - ปัญหาและทางออกรัฐบาลสมัคร [อ่าน

ภาคีเครือข่ายผู้ติดตามสถานการณ์ปราสาทเขาพระวิหาร (praviharn.net) [อ่าน

หอมรดกไทย - ปัญหาปราสาทพระวิหาร [อ่าน]

คลังปัญญาไทย - ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ [อ่าน]

๑๕thmove (fifteenth move) ยุติการเสียดินแดนครั้งที่ 15 [อ่าน]

มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ - เขาพระวิหาร [อ่าน

ศรีศักร วัลลิโภดม - เขาพระวิหาร : ระเบิดเวลาจากยุคอาณานิคม [อ่าน

โครงการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่สาธารณชนเรื่องเขตแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สารคดี 

กิจกรรมสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และภาคีเครือข่าย 

เว็บไซต์ของชาญวิทย์ เกษตรศิริ 

เว็บไซต์ของนพดล ปัทมะ 

ศ. ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ - 
"แฉเอกสาร "ลับที่สุด" ปราสาทพระวิหาร พ.ศ.๒๕๐๕-๒๕๕๑" (แนะนำหนังสือ โดย Dekchild Kong)  [อ่าน

“ข้อมูลพื้นฐานพระวิหารกับศาลโลก จากข้อเขียน ศ. ดร. สมปอง สุจริตกุล” เรียบเรียงโดย ถ่ายเถา สุจริตกุล (แนะนำหนังสือโดย ฟิฟทีนมูฟ - แนะนำหนังสือ [อ่าน

บรรณานุกรมและลำดับเหตุการณ์ รวบรวมโดย ปิยชาติ สึงตี ใน เอกสารประกอบการเสวนา "เขาพระวิหาร: ระเบิดเวลาจากยุคอาณานิคม") [อ่านที่บริเวณท้ายหน้า

สุจิตต์ วงษ์เทศ - ปราสาทพระวิหาร ทำไม ? มาจากไหน [อ่านหนังสือ]

วีรพัฒน์ ปริยวงศ์ - ความคิดในทางกฎหมายเกี่ยวกับ "อำนาจอธิปไตย" [อ่าน

Verapat Pariyawong - Unity Olympics [อ่าน

- เรียงความฉบับนี้ผมเขียนสมัยเป็นนักเรียนสวมกางเกงขาสั้น แม้จะเสียดายว่าขาผมไม่ยาวขึ้นสักเท่าไหร่ แต่ความคิดโดยหลักการยังเหมือนเดิม. 
  
หนังสือและสิ่งพิมพ์อื่นๆ [ดูเพิ่ม 1]  [ดูเพิ่ม 2]   [ดูเพิ่ม 3

ผู้ใดมีข้อมูลเกี่ยวกับ ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะจากชาวบ้านในพื้นที่รอบบริเวณปราสาทพระวิหาร หากจะกรุณาแบ่งปันก็จะเป็นพระคุณครับ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

คนไทยกู้แผ่นดิน บนเฟชบุ๊ค

บทความย้อนหลัง