บล็อกนี้เป็นเพียงช่องทางรวบรวมข้อมูลข่าวสารจากที่ต่างๆ ผู้จัดทำไม่ได้มีเจตนาบิดเบือนข้อมูลข่าวสารหรือต้องการให้ร้าย องกรณ์ หน่วยงานและบุคคลใดๆทั้งสิ้น+++++ หากบทความใดผิดพลาดหรือกระทบต่อ องกรณ์ หน่วยงาน หรือบุคคลใด ผู้จัดทำก็กราบขออภัยไว้ล่วงหน้า +++++ ผู้อ่านท่านใดมีข้อมูลหักล้าง ชี้แนะ หรือมีความเห็นใดๆเพิ่มเติมก็ขอความกรุณาแสดงความเห็นเพื่อให้เป็นความรู้สำหรับผู้อ่านท่านต่อๆไปได้ตามแต่จะเห็นสมควร ------------- ขอขอบคุณเจ้าของบทความทุกๆท่านมา ณ. ที่นี้ด้วยครับ *******ช.ช้าง *******

วันพุธที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2554

การแก้รัฐธรรมนูญ ม.190 เพื่อเปิดทางเซ็นต์สัญญาในทะเล


โดย Boon Wattanna เมื่อ 9 พฤษภาคม 2011 เวลา 1:16 น.

หนังสือแถลงการณ์ร่วม ไทย-กัมพูชา
ฉบับวันที่ 18 มิ.ย. 2551 ระหว่าง นพดล ปัทมะ กับ ซก อัน  


แถลงการณ์ร่วม



       ณ วันที่ 22 พฤษภาคม 2008 มี การประชุมหารือกันระหว่าง นายซก ฮัน รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีรับผิดชอบสำนักคณะรัฐมนตรี แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา และนายนพดล ปัทมะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อสืบต่อการหารือระหว่างทั้งสองท่าน ว่าด้วยการขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารไว้ในบัญชีมรดกโลก การประชุมคราวนี้จัดขึ้นที่สำนักงานใหญ่ขององค์การยูเนสโก ในกรุงปารีส โดยที่มีท่านอื่นๆ เข้าร่วมด้วย ได้แก่ นางฟรองซัวส์ ริเวเร (Francoise Riviere) ผู้ช่วยผู้อำนวยการใหญ่ฝ่ายวัฒนธรรมของยูเนสโก, เอกอัครราชทูต ฟรานเซสโก คารูโซ (Francesco Caruso), นาย อาเซดิโน เบสชอต (Azedino Beschaouch), นางเปาลา เลออนซินี บาร์โตลี (Paola Leoncini Bartoli) และนายจิโอวานนี บอคคาร์ดี (Giovanni Boccardi)

       รัฐมนตรี รับผิดชอบสำนักคณะรัฐมนตรี        ในนามรัฐบาลราชอาณาจักรกัมพูชา  ในนามรัฐบาลราชอาณาจักรไทย        พนมเปญ, 18 มิถุนายน 2008        กรุงเทพฯ, 18 มิถุนายน 2008        6. ราช อาณาจักรกัมพูชาและราชอาณาจักรไทย ขอแสดงความซาบซึ้งใจอย่างยิ่งต่อท่านผู้อำนวยการใหญ่องค์การยูเนสโก ฯพณฯ นายโคอิชิโร มัตสึอุระ สำหรับความช่วยเหลือของท่านในการอำนวยความสะดวกให้แก่กระบวนการเพื่อการขึ้น ทะเบียนปราสาทพระวิหารไว้ในบัญชีมรดกโลก        5. การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารไว้ในบัญชีมรดกโลกครั้งนี้ จะ ไม่ทำให้เสื่อมเสียสิทธิ์ของราชอาณาจักรกัมพูชาและราชอาณาจักรไทย ในการกำหนดปักปันเขตแดนของคณะกรรมการร่วมเพื่อการปักปันเขตแดนทางบก (JBC) ของประเทศทั้งสอง        4. ระหว่างที่รอผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการร่วมเพื่อการปักปันเขตแดนทางบก (Joint Commission for Land Boundary หรือ JBC) เกี่ยวกับพื้นที่ด้านเหนือและด้านตะวันตกรอบๆ ปราสาทพระวิหาร ซึ่งได้รับการระบุให้เป็น หมายเลข 3 ในแผนที่ที่อ้างอิงไว้ในวรรค 1 ข้าง ต้น แผนการบริหารจัดการพื้นที่เหล่านี้จะได้รับการจัดทำในลักษณะของการประสาน ร่วมมือกันระหว่างทางการผู้รับผิดชอบของกัมพูชาและทางการผู้รับผิดชอบของไทย โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการอนุรักษ์ระหว่างประเทศ ด้วยทัศนะที่มุ่งรักษาคุณค่าอันเป็นสากลที่โดดเด่นของทรัพย์สินดังกล่าวนี้ แผน การบริหารจัดการดังกล่าวนี้จะบรรจุไว้ในแผนการบริหารจัดการสุดท้ายสำหรับ ปราสาทพระวิหารและบริเวณรอบๆ ปราสาท ซึ่งจะยื่นเสนอต่อศูนย์กลางมรดกโลก (World Heritage Centre) ภายในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2010 เพื่อการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณามรดกโลก ในการประชุมครั้งที่ 34 ในปี 2010        3. แผนที่ซึ่งอ้างไว้ในวรรค 1 ข้างต้น จะแทนที่แผนที่ต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องและบรรจุไว้ใน “Schema Directeur pour le Zonage de Preah Vihear” ตลอดจนการอ้างอิงด้านกราฟฟิกทั้งหมดที่ระบุบ่งชี้ถึง “บริเวณหลัก” (core zone) และการแบ่งบริเวณอื่นๆ (zonage) ของปราสาทพระวิหาร ที่บรรจุอยู่ในแฟ้มเสนอขอขึ้นทะเบียนของกัมพูชาด้วย จะไม่ได้รวมพื้นที่กันชนทางด้านเหนือและด้านตะวันตกของปราสาท        2. ด้วยเจตนารมณ์แห่งมิตรภาพและความร่วมมือกัน ราชอาณาจักรกัมพูชายอมรับว่า ปราสาทพระวิหารที่จะเสนอขอขึ้นทะเบียนไว้ในบัญชีมรดกโลก        1. ราชอาณาจักรไทยสนับสนุนการขึ้นทะเบียนประสาทพระวิหาร เข้าไว้ในบัญชีมรดกโลก ตามการเสนอของราชอาณาจักรกัมพูชา ณ การประชุมครั้งที่ 32 ของคณะกรรมการพิจารณามรดกโลก (นครควิเบก, ประเทศแคนาดา, เดือนกรกฎาคม 2008) ตามขอบเขตรอบดินแดนซึ่งระบุไว้ว่าเป็น หมายเลข 1 ใน แผนที่ซึ่งจัดทำโดยทางการผู้รับผิดชอบของกัมพูชา และได้แนบท้ายมาด้วยแล้ว แผนที่ดังกล่าวยังได้ครอบคลุมพื้นที่กันชนทางด้านตะวันออกและด้านใต้ของ ปราสาท โดยระบุให้เป็น หมายเลข 2        ระหว่างการประชุมหารือ ทั้งสองฝ่ายได้ทำความตกลงกันดังต่อไปนี้        การประชุมหารือคราวนี้ดำเนินไปด้วยเจตนารมณ์แห่งมิตรภาพและความร่วม มือกัน

                                                            ปารีส

                                                    ผู้แทนของยูเนสโก




                                                       ฟรองซัวส์ ริวีเร

                                          ผู้ช่วยผู้อำนวยการใหญ่ฝ่ายวัฒนธรรม

วิเคราะห์แถลงการณ์

แถลงการณ์ร่วม ข้อ ๑.

กระบวน การกฎหมายที่มีอยู่หรือที่จะพึงนำมาใช้ได้ในภายหลัง และตั้งข้อประท้วงต่อคำ พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศที่ตัดสินให้ปราสาทพระวิหารเป็นของ ประเทศกัมพูชา ซึ่งได้ยื่นหนังสือแถลงการณ์ต่อนายอูถั่น เลขาธิการสหประชา ชาติ เมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๙๖๒ (พ.ศ. ๒๕๐๕) และมีผลเป็นการยอมรับว่าปราสาทพระวิหารเป็นของประเทศกัมพูชาอย่างสมบูรณ์ ถาวรตลอดไป นอกจากนี้ยังมีผลเป็นการยอมรับพื้นที่กันชน (buffer zone) ทางทิศตะวันออกและทิศใต้ของตัวปราสาทพระวิหารเป็นอำนาจอธิปไตยของประเทศ กัมพูชา ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวอยู่นอกเหนือคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่าง

ประเทศ

แถลงการณ์ร่วมข้อ ๒.

แถลงการณ์ร่วม ข้อ ๓.

เป็นการยอมรับการขยายอาณาเขตของประเทศกัมพูชานอกเหนือไปจากคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศแถลงการณ์ร่วม ข้อ ๔

กัมพูชาแต่ฝ่ายเดียว

๕. หากพิจารณาแถลงการณ์ร่วมข้อ ๕. โดยรอบคอบแล้ว ข้อตกลงในแถลงการณ์ร่วมจะเป็นข้อตกลงที่คณะกรรมการร่วมกำหนด เขตแดน (JBC) ของทั้งสองประเทศต้องปฏิบัติตาม

๖. แถลงการณ์ร่วม ข้อ. ๖ การแสดงความขอบคุณเป็นมารยาทอันสำคัญที่ต้องแสดงให้ปรากฏอย่างชัดเจน แต่ ขณะเดียวกันการระบุชื่อนายโคอิชิโร มัตซุอุระ ผู้อำนวยการใหญ่องค์การยูเนส โก เป็นการแสดงให้ปรากฏต่อคณะกรรมการมรดกโลกและประชาชนโลกด้วยว่ากระบวนการ ในการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร ในบัญชีมรดกโลก ตาม ความตกลงของแถลงการณ์ร่วมได้กระทำด้วยน้ำใจแห่งมิตรภาพและความร่วมมือต่อกัน ที่ต่างจะถือข้อกำหนดตามแถลงการณ์ร่วมเป็นข้อมูลผูกพันของทั้งสองประเทศ อย่าง
มั่นคงต่อหน้าพยาน

กัมพูชา ลักไก่ ให้ญี่ปุ่น เจาะน้ำมัน พื้นที่ทับซ้อนไทย

พื้นที่ทับซ้อนระหว่างไทยกับเขมรไม่ได้มีแค่ทางชายแดนเขาพระวิหารเท่า นั้น รอง ผบ.ทัพเรือภาค 1 เผยเขมรขอส่วนแบ่งผลประโยชน์เขตทับซ้อนทางทะเล 90% หลังผลสำรวจพบน้ำมัน-ก๊าซธรรมชาติมูลค่ารวม 5 ล้านล้านบาท



สาระการเรียนรู้   วิทยาศาสตร์
สาระที่  ๕  พลังงาน  
มาตรฐาน  ว ๕.๑
  เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง พลังงานกับการดำรงชีวิต   การเปลี่ยนรูป พลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน  ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

กัมพูชา ลักไก่ ให้ญี่ปุ่น เจาะน้ำมัน พื้นที่ทับซ้อนไทย

        ปิดฉากการประชุมอาเซียน ซัมมิท ครังที่ 18 ให้คำมั่นเพิ่มบทบาทอาเซียนสู่เวทีโลกขณะที่ปัญหาความขัดแย้งชายแดน ไทย-กัมพูชา ยังคงคั่งค้าง

ที่มา : รูปภาพ   http://hilight.kapook.com/img_cms2/news3/284151%5B0%5D.jpg


        ศาลโลก เผยเตรียมกำหนดวันเวลา ในการไต่สวนจากไทยและกัมพูชา ในการแปลความคำตัดสินกรณีปราสาทพระวิหาร จากคำร้องของประเทศกัมพูชา เมื่อวันที่ 28 เมษายนที่ผ่านมา ให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือ ICJ ดำเนินการอย่าง "เร่งด่วน" เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับปราสาทพระวิหาร อันเป็นผลมาจากการปะทะกัน ระหว่างทหารกัมพูชาและไทย ตามแนวชายแดน รวมถึงการร้องขอให้แปลความคำตัดสิน กรณีปราสาทพระวิหาร เมื่อปี 1962 (พ.ศ. 2505)
        ทั้งนี้พื้นที่ทับซ้อนระหว่างไทยกับเขมรไม่ได้มีแค่ทางชายแดนเขาพระ วิหารเท่านั้น  รอง ผบ.ทัพเรือภาค 1 เผยเขมรขอส่วนแบ่งผลประโยชน์เขตทับซ้อนทางทะเล 90% หลังผลสำรวจพบน้ำมัน-ก๊าซธรรมชาติมูลค่ารวม 5 ล้านล้านบาท อดีต ผบ.ทร.อัดกัมพูชาขีดเส้นเลื่อนลอย หนุนคงกำลังทหารเพื่อความได้เปรียบเจรจาเขตแดนทางบก-ทะเล ด้าน ผอ.กองกิจการชายแดนไทย-กัมพูชา ระบุ “ฮุนเซน” ลดความแข็งกร้าว แต่เสริมทหารปืนใหญ่ด้านเขาพระวิหาร


ที่มา : รูปภาพ  http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID=1172259  


        สื่อทางอินเทอร์เน็ตของกัมพูชา ระบุว่า สำหรับพื้นที่บล็อค 4 เป็นพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยกับกัมพูชา บริเวณเกาะกูด จังหวัดตราดของไทยกับจังหวัดเกาะกงของประเทศกัมพูชา ซึ่งมีพิกัดอยู่ติดกับพื้นที่บล็อค 3 ที่ทางรัฐบาลกัมพูชาเคยมอบสิทธิการขุดเจาะน้ำมันให้บริษัทโตตันของประเทศ ฝรั่งเศส แต่ถูกทางรัฐบาลไทยประท้วง จนทำให้บริษัทของฝรั่งเศสไม่สามารถดำเนินการขุดเจาะได้ แต่ล่าสุดรัฐบาลกัมพูชาได้มอบสัมปทานให้กับบริษัทสัญชาติญี่ปุ่น รายงานข่าวยังคาดการว่า ในพื้นที่ดังกล่าวจะสามารถขุดเจาะน้ำมันและแก๊สได้จำนวนมาก
        ปัญหาที่ยังตกลงไม่ได้เกิดจากการอ้างสิทธิของสองฝ่ายออกไปฝ่ายละ 200 ไมล์ทะเลจากไหล่ทวีปในองศาที่ต่างกัน ทำให้เกิดพื้นที่ทับซ้อน แบ่งเป็นสองส่วน คือ เกาะกูดตอนล่าง ที่ไทยยึดถือตามสนธิสัญญา ฟรังโก-สยาม ว่าเกาะกูดอยู่ในฝั่งไทย ในขณะที่ กัมพูชาใช้เส้นแนวเล็งจากเขตแดนที่ 73 ผ่านยอดเขาสูงของเกาะกูดตรงออกไปในทะเล ซึ่งกินพื้นที่พัฒนาร่วมคือ JDA ที่เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ส่วนที่สอง คือ อ่าวไทยตอนกลางและตอนล่าง ที่กัมพูชาประกาศเขตไหล่ทวีปในปี 2515 ในขณะที่ไทยประกาศในปี 2516

ที่มา : รูปภาพ  http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/337/23337/images/oil2.jpg
        ช่วงปี 48 บริษัท เชฟรอน สหรัฐฯ ซึ่งเป็นบริษัทเดียวที่ได้รับสัมปทานในพื้นที่ทับซ้อนจากรัฐบาลไทยและ กัมพูชาให้สำรวจพื้นที่ทับซ้อนซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 26,400 ตารางกิโลเมตร ได้ประเมินมูลค่าก๊าซธรรมชาติไว้ 3.5 ล้านล้านบาท และน้ำมัน 1.5 ล้านล้านบาท โดยกองทัพเรือยังต้องดูแลความปลอดภัย 2 ฐานขุดเจาะนางนวลนี้อยู่
        บ่อน้ำมันและแก๊สธรรมชาติกลางอ่าวไทยบนพื้นที่ทับซ้อนไทยกัมพูชานั้น ทำให้กัมพูชาประกาศจะนำมาใช้พัฒนาประเทศ และปัจจุบันยกพื้นที่ดังกล่าวให้บริษัท TOtal ของฝรั่งเศษแล้ว
        ธนาคารโลกประเมินว่า แหล่งพลังงานในกัมพูชาน่าจะมีน้ำมันถึง 2,000 ล้านบาร์เรล และก๊าซธรรมชาติอีก 10 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต ที่จะสร้างรายได้ให้กัมพูชาไม่น้อยกว่า 2,000 ล้านเหรียญต่อปี (เมื่อเทียบกับราคาน้ำมันดิบบาร์เรลละ 60 เหรียญ)
        สำหรับพื้นที่ที่น่าจะมีก๊าซธรรมชาติและน้ำมันมากที่สุดก็คือ พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลกับไทยนั่นเอง
ชมแท่นขุดเจาะน้ำมันของไทย
วิดิโอ








ประเด็นคำถามชวนคิด
1. น้ำมันและแก๊สธรรมชาติเกิดขึ้นได้อย่างไร
2. บ่อน้ำมันและแก๊สธรรมชาติของไทยมีที่ไหนบ้าง
3. น้ำมันและแก๊สธรรมชาติมีผลต่อเศรษกิจของไทยอย่างไรบ้าง
4. ผลิตภันณ์อะไรบ้างที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม
กิจกรรมเสนอแนะ
1. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดของน้ำมันและแก๊สธรรมชาติเช่น ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต
2. ค้นคว้าและนำเสนอแนวทางการประหยัดน้ำมัน
การบูรณาการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ฯ นักเรียนศึกษาแผนที่ประเทศไทยพื้น ที่ทับซ้อนต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ  ภูมิศาสตร์ เส้นละติจูต ลองติจูต
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การคำนวณราคาน้ำมัน หน่วยของน้ำมัน หน่วยของความยาวไมล์ทะเล
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ นักเรียนวาดแผนที่ประเทศไทย แผนที่ทวีปเอเชียกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต  การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล การนำเสนอข้อมูล
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย การเขียนย่อความ การสรุปความของข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้า
ขอขอบคุณ
แหล่งข้อมูลอ้างอิงเนื้อหาและรูปภาพประกอบ ดังนี้
1.http://youtu.be/CD-02oMwbYE
2.http://youtu.be/lT22MpowSsI
3.http://hilight.kapook.com/view/58139
4.http://www.rssthai.com/reader.php?r=13335&t=foreign
5.http://www.oknation.net/blog/print.php?id=520483
6.http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/337/23337/images/oil2.jpg
7.http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID=1172259
8.http://hilight.kapook.com/img_cms2/news3/284151%5B0%5D.jpg




ไม่มีอะไรที่น่าแปลกใจ ก็ผลประโยชน์มหาศาล นักการเมืองถึงพยายามยกแผ่นดินให้กัมพูชา 

    ที่น่าแปลกใจตรงที่ ผลประโยชน์พวกเราทุกคน แต่ ทำไม? ยังมีคนมากมายมัวไปหลง นักการเมืองเลวๆพวกนั้นกัน นี่ล่ะ คิดหาเหตุผลไม่เจอซะที 

ข้อมูล ผ่าน  Wandee Songna

คนไทยกู้แผ่นดิน บนเฟชบุ๊ค

บทความย้อนหลัง