บล็อกนี้เป็นเพียงช่องทางรวบรวมข้อมูลข่าวสารจากที่ต่างๆ ผู้จัดทำไม่ได้มีเจตนาบิดเบือนข้อมูลข่าวสารหรือต้องการให้ร้าย องกรณ์ หน่วยงานและบุคคลใดๆทั้งสิ้น+++++ หากบทความใดผิดพลาดหรือกระทบต่อ องกรณ์ หน่วยงาน หรือบุคคลใด ผู้จัดทำก็กราบขออภัยไว้ล่วงหน้า +++++ ผู้อ่านท่านใดมีข้อมูลหักล้าง ชี้แนะ หรือมีความเห็นใดๆเพิ่มเติมก็ขอความกรุณาแสดงความเห็นเพื่อให้เป็นความรู้สำหรับผู้อ่านท่านต่อๆไปได้ตามแต่จะเห็นสมควร ------------- ขอขอบคุณเจ้าของบทความทุกๆท่านมา ณ. ที่นี้ด้วยครับ *******ช.ช้าง *******

วันศุกร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ฮุน มาเณต กังวลไทยส่งทหารเข้า พท.รอบพระวิหารเมื่อกรกฎา ๕๑


ฮุน มาเณตฟิฟทีนมูฟ – สื่อเขมรรายงานอ้าง Wikileaks เปิดข้อมูลการสนทนาระหว่างฮุน มาเณต และทูตสหรัฐประจำเขมร ระบุกังวลที่เขมรใช้สันติวิธีและอดทนไม่ตอบโต้ไทยด้วยกำลัง กรณีที่ไทยส่งกำลังเข้าพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารเมื่อ ก.ค. ๕๑ การไม่ใช้กำลังของเขมรถูกไทยมองว่าอ่อนแอ และใช้ความตึงเครียดเบี่ยงเบนความสนใจ
สำนักข่าวซีอีเอ็นของกัมพูชา (๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๔) รายงานอ้าง Wikileaks เปิดเผยข้อมูลลับการแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชา หลังทหารไทยนำกำลังเข้าพื้นที่รอบปราสาทพระวิหารในเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๑ ระหว่างการร่วมรับประทานอาหารกลางวัน ในโอกาสอำลาหน้าที่ของนายโจเซฟ มุสโซเมลี (Joseph Mussomeli) เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำกัมพูชา กับ พ.อ. (พิเศษ) ฮุน มาเณต (ยศในขณะนั้น) บุตรชายนายกรัฐมนตรีฮุน เซน เมื่อเดือนสิงหาคม ๒๕๕๑

ข้อมูลลับรายงานของเอกอัตรราชทูตกัมพูชาขณะนั้น ระบุว่า ฮุน มาเณต ได้แสดงความกังวลต่อการตอบโต้โดยสันติวิธีของกัมพูชา ต่อการรุกล้ำของไทยและการให้ข้อมูลผิดที่กรุงเทพฯ ฮุน มาเณต ได้แสดงความเห็นว่า การอดทนและปฏิเสธการใช้กองกำลังของกัมพูชา ถูกประเทศไทยถือเอาว่าเป็นความอ่อนแอ หลังจากที่ไทยได้ส่งทหารไปอยู่ในบริเวณรอบปราสาทพระวิหาร ไทยก็ยังได้ส่งทหารเพิ่มเข้ามาในพื้นที่ขัดแย้งอีก ฮุน มาเณต กล่าวกับเอกอัคราชทูตสหรัฐอเมริกาโดยยืนยันว่า ไทยมองไม่เห็นผลลบจากการยุติการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี และไทยอาจจะใช้สภาพความตึงเครียดกับกัมพูชา เพื่อเบี่ยงความสนใจของคนไทยจากความกังวลที่ใหญ่กว่าและสำคัญกว่า ในประเทศของตน
​​​นายโจเซฟ มุสโซเมลี ได้ขอให้มีความอดทน และแสดงความเห็นกับฮุน มาเณต ว่า ความคิดของกัมพูชาที่จะนำเอาปัญหาดังกล่าวไปยังคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสห ประชาชาตินั้น เป็นการแก้ปัญ

แฉ "ฮุนเซนบอก ไม่มีพื้นที่ทับซ้อน"

สัปดาห์สุดท้ายก่อนที่ศาลโลก International Court of Justice (ICJ) จะอ่านคำสั่งกรณีที่กัมพูชาขอให้ศาลระบุมาตรการคุ้มครองชั่วคราว ในวันที่ 18 กรกฏาคม 2011 นี้ Council on Foreign Relation (CFR) ได้ลงข่าววิกิลีกส์แฉคำพูดของฮุนเซน ที่บอกกับอเมริกาว่า "ไม่มีพื้นที่ทับซ้อนที่บริเวณเขาพระวิหาร นอกจากในอ่าวไทย"

"ฮุน เซน นายกรัฐมนตรีเขมร ประกาศว่าประเทศเขาไม่มีพื้นที่ทับซ้อนกับประเทศไทย" วิกิลีกส์เคเบิ้ลเขียนใน 95PHNOMPENH152 ที่ออกโดยสถานทูตสหรัฐในพนมเปญ "นอกจากดินแดนที่ทับซ้อนกันในทะเล และที่มันควรจะแบ่งกันเในรูปแบบตาราง"

เค เบิ้ลอธิบายการพบปะระหว่างฮุนเซ็นกับนาย Matt Daley ประธานสภาธุรกิจของสหรัฐ ที่ได้นำองค์กรผู้ประกอบการ "สหรัฐ-อาเซียน"เมื่อวันที่ 1-3 พฤษภาคม 2008

ความคิดเห็นของฮุนเซน ที่ให้กับนาย Daley ที่ผ่านมานั้นนายนพดล ปัทมะ ไม่ได้คัดค้าน ในการทีเขมรจัดการจดเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโก้ แต่ต้องการให้ไทยและกัมพูชาร่วมกันจัดการบริหารจัดการ "พื้นที่ที่อ้างร่วมกัน"

นอกจากนั้นเคเบิ้ลยังยกคำพูดขอ ฮุนเซน ที่ล่าวว่า"เขาต้องการเรียกร้องให้นำพื้นที่ทับซ้อนในอ่าวไทย มาพิจารณาให้แยกต่างหากจาก (เรื่องของ)ปราสาทพระวิหาร --ซึ่งเป็นวิธีการที่ประเทศไทยยอมรับเมื่อปีที่ผ่านมา"เขากล่าวว่า

นายก รัฐมนตรีกัมพูชายังอ้างว่ไทยว่า"ไทยต้องการที่จะแบ่งพื้นที่ทับซ้อนทางทะเล ออกเป็นแถบจากเหนือถึงใต้ ซึ่งทั้งสองประเทศจะแบ่งผลประโยชน์ร่วมกันเป็นเปอร์เซนต์ของรายได้ในแต่ละ แถม

ในเคเบิ้ลฮุนเซนชี้ให้เห็นแทนพื้นที่ที่ถูกแบ่งออกเป็นรูปแบบ กระดานหมากรุก ให้เห็นภาพว่า แต่ละประเทศมีการควบคุม แต่เพียงผู้เดียวของบล็อกที่ได้รับมอบหมาย

ความคิดเห็นของสถานทูต บันทึกว่า "จากคำพูดทั้งของไทยและกัมพูชา ที่จะจัดการเรื่องของปราสาทเขาพระวิหาร มีความเชื่อมโยงกับการเรียกร้องให้แก้ปัญหาข้อพิพาททางทะเล อย่างน้อย(ก็มี)ในใจของผู้บริหารระดับสูงของไทยและผู้นำรัฐบาลกัมพูชา"

(Note: แสดงว่า ทูตอเมริกันคิดว่า ทั้งสองฝ่ายเชื่อว่ามีความเกี่ยวพัน แต่ดูเหมือนว่าทั้งเขมรและไทยละเลยที่จะพูดถึง)

ใน ขณะเดียวกันพรรคเพื่อไทยได้ประกาศว่าจะช่วยให้สองผู้ประสานงานเครือข่ายคน ไทยหัวใจรักชาติ นายวีระ สมความคิด และเลขานุการของเขา นางสาว ราตรี พิพัฒนไพบูลย์ ได้รับการปล่อยตัวจากคุกในพนมเปญ จากกรณีที่พวกเขาถูกจับและตัดสินจำคุกในฐานะที่เข้าสอดแนมในเขตแดนของ กัมพูชา

นายต่อพงษ์ ไชยสาร์น ว่าที่ สส.ปาร์ตีลิสต์ของพรรคเพื่อไทย ซึ่งมีชื่ออยู่ใน short list ของตัวเลือกที่จะได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองรัฐมนตรีต่างประเทศกล่าวว่า "ถ้าพรรคเพื่อไทยได้เป็นรัฐบาลเขาจะช่วยเหลือ วีระ และ ราตรี เช่นเดียวกับคนไทยคนอื่นๆ ที่ถูกจับในข้อหาเช่นเดียวกันนี้ในประเทศกัมพูชา"

วีระและราตรีติดคุกเนื่องจากบุกรุกเข้าไปในเขตจำกัดและหวงห้ามของทหารและถูกข้อหาจารกรรม
วีระและราตรีถูกตะรางอย่างผิดกฎหมายเข้าสู่ประเทศกัมพูชาบุกรุกเข้ามาในพื้นที่ทหารที่ถูก จำกัด ไม่ได้รับอนุญาตและการจารกรรม

"กรณีนี้จะไม่ได้อยู่ในหมู่นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล แต่ก็จะเป็นหนึ่งในงานที่รัฐบาลจะต้องอยู่"นายต่อพงษ์กล่าวว่า

"เราต้องให้แน่ใจว่าประชาชนมีความเข้าใจในวิธีการของเราและของกัมพูชา ที่สำคัญเราต้องเคารพคำตัดสินของศาลกัมพูชาด้วย"

(Note: คนพรรคนี้ เคารพศาลเขมร ..แต่ไม่เคยเคารพศาลไทย--สมที่ได้ชื่อว่าเป็ฯพวกคนไทยหัวใจเขมร)

"พรรค เพื่อไทยมีแผนที่จะจัดการกับแถวชายแดนไทยกัมพูชารวมถึงการบังคับใช้พระราช กฤษฎีกาว่าชาวกัมพูชาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่ขัดแย้งกันจะต้องย้ายออกตาม ความในบันทึกข้อตกลงที่มีอยู่" นายต่อพงษ์กล่าว
.
(ข้อมูลจาก Council on Foreign Relation "CFR")
.
.

The Great Hall of Justice:: Courtesy of "ICJ"
.
.
จับตาศาลโลกวันที่ 18 ก.ค. !
.
ล่า สุดศาลโลก ได้แจ้งว่าในวันจันทร์ที่ 18 ก.ค. นี้ ศาลจะอ่านคำสั่งกรณีที่กัมพูชาขอให้ศาลระบุมาตรการคุ้มครองชั่วคราว ซึ่งกัมพูชาขอไว้สามข้อ คือ

(1) สั่งให้ไทยถอนทหารออกไปจากดินแดนของกัมพูชา (territoire cambodgien) ในบริเวณปราสาทพระวิหาร
(2) สั่งห้ามไม่ให้ไทยดำเนินการทางทหารในบริเวณปราสาทพระวิหาร
(3) สั่งให้ไทยงดเว้นการกระทำที่อาจกระทบต่อสิทธิของกัมพูชาหรืออาจทำให้ความขัดแย้งทวีความรุนแรงมากขึ้น

ผู้เขียน(ในประชาไทย)มิอาจล่วงรู้ผลของคำสั่งในวันจันทร์ที่ 18 ก.ค. นี้ได้ แต่อาจตั้งข้อสังเกตเบื้องต้นดังนี้

1. จับตาเรื่อง “เขตแดน” ที่แฝงมาในคำขอของกัมพูชา

จาก คำขอทั้งสามข้อข้างต้น คำขอข้อแรกมีนัยเกี่ยวกับเรื่องเขตแดนชัดเจน คือ หากศาลสั่งตามที่กัมพูชาขอ ย่อมแปลว่ามี “พื้นที่ในบริเวณปราสาทพระวิหาร” ที่อยู่ในดินแดนของกัมพูชา ในขณะที่คำขอสองข้อหลังแม้หากศาลสั่งตามที่กัมพูชาขอ ก็มองได้ว่าไม่เกี่ยวกับเขตแดนโดยตรง เช่น อาจมองเป็นเรื่องการรักษาตัวปราสาทที่เป็นวัตถุแห่งคดี

ไม่ว่าวัน ที่ 18 ก.ค. นี้ศาลจะมีคำสั่งมาตรการคุ้มครองชั่วคราวหรือไม่แบบใด สิ่งที่ควรจับตามองก็ คือ ศาลจะแสดงจุดยืนในเรื่องคำขอข้อแรกที่กล่าวถึง “เขตแดน” อย่างไร? ผู้เขียนมองว่าเป็นไปได้สามแนวทาง

- แนวแรก ศาลอาจปฏิเสธคำขอข้อแรกโดยสิ้นเชิง จะด้วยเหตุผลว่าศาลไม่มีอำนาจวินิจฉัยเรื่องเขตแดนหรือด้วยเหตุผลอื่นที่ ฝ่ายไทยอ้าง เช่น ประเด็นเขตแดนในปัจจุบันต้องว่าไปตาม MOU พ.ศ. 2543 ฯลฯ ทั้งนี้ การที่ศาลได้ดำเนินการให้เจ้าหน้าที่แก้ไขคำแปลผิด จากคำว่า “boundary” (เขตแดน) มาเป็น “limit” (ขอบเขต) นี้ถือเป็นสัญญาณที่ดีว่าศาลให้ความสำคัญกับประเด็นดังกล่าวที่ไทยต่อสู้ไว้

- แนวที่สอง ศาลอาจมีคำสั่งเป็นการทั่วไปตามที่กัมพูชาขอ โดยอาจสั่งโดยไม่อธิบายว่า “พื้นที่ในบริเวณปราสาทพระวิหาร” ที่อยู่ในดินแดนของกัมพูชา คือ พื้นที่ใด ซึ่งแม้จะไม่ชัดเจน แต่ก็เป็นความคลุมเครือที่กัมพูชาอาจนำมาใช้อ้างต่อได้

- แนวที่สาม ซึ่งน่ากังวลที่สุดและไม่น่าจะเป็น คือ ศาลอาจอ้างถึงข้อเท็จจริงหรือเอกสารบางอย่าง เช่น MOU พ.ศ. 2543 หรือ แผนที่ภาคผนวก 1 (ซึ่ง MOU ได้อ้างถึงโดยไม่เจาะจง) และกล่าวโดยตรงหรือโดยอ้อมในทำนองว่า “พื้นที่ในบริเวณปราสาทพระวิหาร” ที่อยู่ในดินแดนของกัมพูชาอาจเกี่ยวข้องกับเอกสารหรือแผนที่ดังกล่าว ซึ่งอาจเป็นการตีความกฎหมายที่สุ่มเสี่ยงเรื่องเขตแดนดังที่มีผู้ห่วงใยได้ เตือนเกี่ยวกับ MOU ตลอดมา
(ข้อมูลจากเว๊บประชาไทย)
.

The Great Hall of Justice:: Courtesy of "ICJ"
.
.
โปรด สังเกต หนึ่งสัปดาห์ก่อนวันเลือกตั้งไทยที่ 3 กรกฏาคม 2011 (CFR) ได้ลงข่าววิกิลีกส์แฉเรื่องราวข่าวลือเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์ไทย เพื่อดิสเครดิตพรรคประชาธิปัตย์ที่พวกเขาถือว่าเป็นฝ่ายทหารและรอยัลลีสต์

การอ่านคำตัดสินของศาลโลกครั้งนี้ จึงมีนัยยะสำคัญ ที่น่าจับตามองง

นักวิชาการเห็นพ้องลาออกมรดกโลกไม่มีผล-แนะล็อบบี้อีก158ชาติ



"พิสิฐ"ชี้ไม่ลาออกภาคีมรดกโลกยังไม่มีผล ไทยถูกมองขี้แพ้ชวนตี "ธราพงศ์"ย้ำต้องนายกฯ, รมว.บัวแก้ว ลงนาม สภาต้องเห็นชอบ คาดมรดกโลกร่วมเขมรไม่ย


วันนี้(14ก.ค.) ที่วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทาลัยธรรมศาสตร์ มีการเสวนาเรื่อง "การบริหารัดงานมรดกโลก ในกระแสโลกาภิวัตน์" ดร.พิสิฐ เริญวงศ์ อดีต ผอ. ศูนย์โบราณคดีและวิิตรศิลป์ แห่งเอเชียและแปซิฟิก และผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์และการัดงาน ทรัพยากรวัฒนธรรม กล่าวว่า ประเทศไทยโดยนายสุวิทย์ คุณกิตติ รมว.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนประเทศไทยไปเมรดกโลก ยื่นหนังสือลาออกากภาคีสมาชิกอนุสัญญามรดกโลก เห็นว่านายสุวิทย์เป็นเพียงตัวแทนหัวหน้าฝ่ายไทยึงไม่มีสิทธิ์เด็ดขาด ขณะนี้การอออกากอนุสัญญายังไม่เป็นผลอย่างเป็นทางการ เนื่องากการดำเนินการะต้องผ่านกระบวนการากกระทรวงการต่างประเทศเสียก่อน
ดร.พิสิฐ กล่าวต่อไปว่า ไทยได้ยื่นหนังสือดังกล่าวเป็นเพียงไม่รับข้อเสนอในที่ประชุมเท่านั้น และคิดว่าเมื่อไทยได้ส่งหนังสือดังกล่าวออกไปแล้ว ก็สามารถสมัครกลับเข้าไปเป็นภาคีใหม่ก็ได้ ไม่มีอะไรเสียหาย เพราะการเป็นภาคีอนุสัญญามรดกโลก เป็นเรื่องสำคัญอย่างมาก ปัุบันทั่วโลกมีประเทศภาคีสมาชิกในอนุสัญญามรดกโลก 187 ประเทศ ซึ่งะช่วยให้แต่ละประเทศช่วยคุ้มครองแหล่งมรดกโลกซึ่งกันและกัน ไม่ใช่เป็นการตักตวงผลประโยชน์ของงประเทศใดประเทศหนึ่ง อย่างที่เข้าใกัน หากเห็นว่าการเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาไม่ดีริงคงะไม่ม ีประเทศเข้าร่วมเป็นสมาชิกมากขนาดนี้ อย่างไรก็ตาม กรณีระหว่างไทยกับกัมพูชาถือเป็นกรณีความขัดแย้งระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน เพราะปราสาทพระวิหารอยู่บนเส้นเขตแดนของสองประเทศ
ดร.พิสิฐ กล่าวด้วยว่า ขณะนี้แนวทางประเทศไทยสามารถทำได้ คือการทำหนังสือเพื่อสร้างความเข้าใกับประเทศสมาชิก อีก 185 ประเทศ อาะทำให้สถานการณ์ทางความขัดแย้งดีขึ้น เพราะปัุบันเรายังเดินตามประเทศกัมพูชา ก็เหมือนประเทศไทยไปทำร้ายเขาหรือเป็นผู้ร้าย ก็ะไม่เป็นผลดีเท่าใดนัก ส่วนการที่ไทยะนำเรื่องกฎหมายมาเป็นตัวเดินเรื่อง ก็ะไม่เป็นประโยชน์ เพราะทางกัมพูชาก็ะนำคำพิพากษาของศาลโลกเมื่อวันที่ 15 มิ.ย.2505 มาเป็นข้ออ้างว่าตัวปราสาทเป็นของกัมพูชาฝ่ายเดียวแล้ว
ส่วนที่ะเสนอเป็นมรดกโลกร่วมนั้น อย่าไปพูดถึงเพราะทางกัมพูชาไม่รับข้อเสนออยู่แล้ว และก็ไม่มีความเป็นมิตรไมตรีที่ะให้ ไทยเสนอร่วมด้วย อย่างไรก็ตาม อย่านึกว่าการขัดแย้งเรื่องดินแดนเป็นเรื่องใหญ่ที่เกิดขึ้นไม่ได้ ที่ผ่านมา หลายประเทศก็ยังมีปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้น และยังแก้ปัญหาไม่ได้ ดังนั้น เราะต้องมาหาทางออกว่าะทำอย่างไร ทางดีที่สุดควรใช้ทางออกทางด้านวิชาการให้เป็นประโยชน์ทั้งสองประเทศ
"การที่กัมพูชาทำอะไรสำเร็ก็เพราะมีชาติมหาอำนาและ ชาติที่เก่งมาช่วยสนับสนุนด้วยทุกครั้ง แต่ประเทศไทยกลับไม่มีเพื่อนที่ไหนมาช่วยดำเนินการ ทั้งที่มีภาคีสมาชิกอีกตั้ง 185 ประเทศ เราก็ยังไม่ได้ทำหนังสือชี้แงเพื่อนสมาชิกเลยึงถูกมองว่าเป็นเด็กเกเร เป็นผู้ร้าย เป็นนักเลง ผมคิดว่า เราควระต้องเป็นภาคีอนุสัญญาต่อไป การถอนออกไม่ใช่เรื่องถูกต้อง เพราะถูกมองในทางที่ไม่ดี เป็นประเทศใหญ่กว่าแพ้ประเทศเล็ก แล้วขายหน้าึงถอนตัวออก ทำไมเราไม่ใช้ภาคี ทำอย่างกัมพูชาทำ เรามีเพื่อนมากแต่เราไม่สนใส่วนการล็อบบี้ก็เกิดขึ้นตลอด โดยเฉพาะกัมพูชาก็ชั้นหนึ่งในการล็อบบี้ ขอับมือประเทศนั้นประเทศนี้ตลอด และยอมรับว่าทุกประเทศะต้องมีการล็อบบี้” ผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ฯ กล่าว 
นายธราพงศ์ ศรีสุชาติ ผอ.สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร กล่าวว่า ไทยคัดค้านแผนบริหารัดการพื้นที่ปราสาทพระวิหาร เพราะทราบว่ามีการสร้างห้องน้ำ สร้างถนน ในเขตพื้นที่สันปันน้ำ ซึ่งเป็นพื้นที่โดยรอบปราสาท ฝ่ายไทยก็ถือว่าเป็นที่ของไทย ดังนั้น สิ่งก่อสร้างต่าง ๆึงถือเป็นการละเมิดอธิปไตย และเกรงว่าเมื่อแผนบริหารัดการได้รับการยอมรับ ก็ะเป็นปัญหาผูกพันต่อพื้นที่ชายแดนของประเทศไทย การเราลาออกากการเป็นภาคีสมาชิกนั้น ก็ะมีผลคือแผนการบริหารัดการะไม่เข้าสู่การพิารณา ของคณะกรรมการมรดกโลก ในชุดการรุกล้ำพื้นที่อธิปไตยของไทย
ผอ.สำนักโบราณคดี กล่าวต่อไปว่า ส่วนการลาออก ของนายสุวิทย์ นั้นเป็นการยื่นประท้วง ไม่มีผลการลาออก เพราะผู้ะลงนามลาออกากได้ คือ นายกรัฐมนตรี หรือ รมว.การต่างประเทศ ซึ่งการลาออก ที่ปารีส ช่วงนั้นเป็นเวลาที่ไทยไม่มีสภา เพราะนายกฯ ได้ยุบสภาไปแล้ว ถ้าไม่มีสภารับรอง ก็ะผิดตามมาตรา 190 นายกฯึงลงนามไม่ได้ ทำให้ขณะนี้ เรายังเป็นสมาชิก คำลาออกของนายกสุวิทย์ ยังไม่มีผล แต่เป็นการประท้วง เท่านั้นึงไม่ต้องสมัครใหม่ แต่มีผลทำให้แผนการบริหารัดการไม่มีการพูดถึงอีกเลยในการประชุมมรดกโลก และยังไม่มีผลสรุป คาดว่าต้องรอที่ปรึกษากฎหมายขององค์การยูเนสโก สรุปออกมาอีกครั้ง

"ในที่ประชุมมรดกโลก ได้ต่อรองกัน โดยทางกัมพูชาขอขึ้นมาบูรณะตัวปราสาทพระวิหาร ทางไทยก็ยินดี เพราะประเทศสมาชิกต้องช่วยกันรักษาแหล่งมรดกโลก ไม่ว่าะอยู่ในดินแดนใด ขณะเดียวกัน ฝ่ายไทยก็ะสนับสนุนและขอให้เคารพอธิปไตยของไทย เพราะการขึ้นไปบูรณะะต้องมีการขนอิฐ หิน ดิน ทราย ขนคนงาน ผ่านดินแดนไทย ดังนั้นึงต้องขออนุญาตต่อรัฐบาลไทย แต่ทางกัมพูชาไม่ยอมรับ และทำให้เราก็ไม่ยอมเช่นกัน เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องชาตินิยม แต่เป็นการรักษาอำนาอธิปไตย เราทำอะไรมากไม่ได้ เพราะเรามีกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกรอบกำกับในการทำงานอยู่” นายธราพงศ์ กล่าว

คนไทยกู้แผ่นดิน บนเฟชบุ๊ค

บทความย้อนหลัง