เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม เว็บไซต์ของกระทรวงการต่างประเทศเผยแพร่เรื่อง "เหตุผลและความจำเป็นที่ไทยต้องไปศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ในคดีปราสาทพระวิหาร (อีกครั้ง)"
ระบุว่า ด้วยเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2554 กัมพูชาได้ยื่นคำขอให้ศาลยุ ติธรรมระหว่างประเทศตีความคำพิพากษาในคดีปราสาทพระวิหา ร พ.ศ.2505 ตามบทบัญญัติของข้อ 60 ของธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่ างประเทศ และกัมพูชาได้ยื่นคำขอมาตรก ารคุ้มครองชั่วคราว ตามข้อ 41 ของธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่ างประเทศด้วย
เพื่อเป็นการให้ข้อมูลที่ถู กต้องแก่สาธารณชนไทย กระทรวงการต่างประเทศจึงขอเ รียนชี้แจงเกี่ยวกับการมีคำ ขอให้ศาลฯตีความคำพิพากษาแล ะขอมาตรการคุ้มครองชั่วคราว ของกัมพูชาดังกล่าว ดังต่อไปนี้
- การยื่นคำขอของฝ่ายกัมพูชาใ ห้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ตีความคำพิพากษาฯ เป็นการใช้สิทธิตามข้อ 60 ของธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่ างประเทศ ซึ่งบัญญัติว่า
"คำพิพากษาของศาลฯถือเป็นที ่สุดและไม่สามารถอุทธรณ์ได้ ในกรณีที่มีข้อพิพาทเกี่ยวก ับความหมายหรือขอบเขตของคำพ ิพากษาศาลฯจะต้องตีความตามค ำขอของคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ ่ง"
การมีคำขอให้ศาลฯตีความในคร ั้งนี้ เป็นกรณีที่กัมพูชาอ้างว่า ไทยและกัมพูชามีข้อพิพาทเกี ่ยวกับความหมายและขอบเขตของ คำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร ที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเท ศได้พิพากษาไว้เมื่อปี 2505 กัมพูชาในฐานะคู่กรณีฝ่ายหน ึ่งในคดีดังกล่าว จึงใช้สิทธิตามข้อบทนี้ ขอให้ศาลฯตีความในส่วนที่เก ี่ยวกับความหมายและขอบเขตขอ งคำพิพากษาที่ศาลฯได้เคยพิพ ากษาไว้แล้วว่า "ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่ในด ินแดนภายใต้อธิปไตยของกัมพู ชา"
- ประเด็นที่กัมพูชาขอให้ศาลฯ ตี
ความ คือ กัมพูชาขอให้ศาลฯตัดสินว่า พันธกรณีของไทยที่จะต้อง
"ถอนกำลังทหารหรือตำรวจ หรือผู้รักษาการณ์ หรือผู้ดูแลอื่นๆ
ที่ประเทศไทยได้วางไว้ที่ปร าสาท หรือในพื้นที่ใกล้เคียงในดิ นแดนของกัมพูชา" เป็นผลมาจากพันธกรณีทั่วไปข องไทย ที่จะต้องเคารพบูรณภาพแห่งด ินแดนกัมพูชา ซึ่งดินแดนนั้นถูกกำหนดขอบเ ขตในบริเวณปราสาทพระวิหารแล ะพื้นที่ใกล้เคียง โดยเส้นของแผนที่ภาคผนวก 1 ซึ่งศาลฯใช้เป็นพื้นฐานของค ำตัดสิน
กระทรวงการต่างประเทศขอเรีย นว่า การมีคำขอให้ศาลฯตีความตามข ้อบทนี้ มิใช่เป็นการฟ้องคดีข้อพิพา ทคดีใหม่ ทั้งนี้ การขอให้ศาลฯตีความจะกระทำภ ายในระยะเวลาเท่าใดก็ได้ เพราะธรรมนูญศาลยุติธรรมระห ว่างประเทศมิได้ระบุว่า คำขอตีความจะต้องกระทำภายใน ระยะเวลาเท่าใด
- อีกคำถามหนึ่งที่เกี่ยวข้อง กับคำขอของฝ่ายกัมพูชาในเรื ่องนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันประเทศไทยมิไ ด้ยอมรับเขตอำนาจศาลยุติธรร มระหว่างประเทศแล้ว ประเทศไทยจะต้องไปต่อสู้คดี ในเรื่องนี้อีกหรือไม่
กระทรวงการต่างประเทศขอเรีย นชี้แจงว่า โดยที่คำขอให้ศาลยุติธรรมระ หว่างประเทศตีความคำพิพากษา เดิมตามข้อ 60 ของธรรมนูญศาลฯ มิใช่เป็นการฟ้องคดีใหม่ แต่เป็นคำขอที่อยู่ในกรอบขอ งคดีปราสาทพระวิหาร ซึ่งเป็นคดีที่ไทยและกัมพูช าได้ยอมรับเขตอำนาจศาลฯในคด ีดังกล่าวไว้แล้ว ดังนั้น เมื่อกัมพูชายื่นคำขอต่อศาล ฯขอตีความคำพิพากษาดังกล่าว ประเทศไทยจะปฏิเสธไม่ไปโต้แ ย้งคำขอของกัมพูชาที่ศาลฯก็ สามารถทำได้ แต่จะเป็นผลให้ศาลฯสามารถพิ จารณาบนพื้นฐานของคำขอ คำให้การ และเอกสารประกอบของฝ่ายกัมพ ูชาฝ่ายเดียวได้ ทั้งนี้ ตามข้อ 53 ของธรรมนูญศาลฯ โดยศาลฯไม่มีโอกาสรับรู้ รับทราบและพิจารณาข้อโต้แย้ งหลักฐานและเหตุผลต่างๆ ของฝ่ายไทย อันอาจเป็นผลให้คำวินิจฉัยต ีความของศาลฯเป็นคุณแก่ฝ่าย กัมพูชาและส่งผลเสียกับประเ ทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อคำนึ งว่า คำวินิจฉัยของศาลฯในเรื่องน ี้จะมีผลผูกพันคู่กรณีทั้งส องฝ่ายตามข้อ 59 ของธรรมนูญศาลฯ
กระทรวงการต่างประเทศขอย้ำว ่า ในการที่ไทยจะไปต่อสู้คดีใน ศาลฯครั้งนี้ มิใช่การยอมรับเขตอำนาจศาลฯ ใหม่ แต่เป็นเรื่องของการตีความค ำพิพากษาเก่าที่ผูกพันทั้งไ ทยและกัมพูชา
เพื่อเป็นการให้ข้อมูลที่ถู
- การยื่นคำขอของฝ่ายกัมพูชาใ
"คำพิพากษาของศาลฯถือเป็นที
การมีคำขอให้ศาลฯตีความในคร
- ประเด็นที่กัมพูชาขอให้ศาลฯ
กระทรวงการต่างประเทศขอเรีย
- อีกคำถามหนึ่งที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงการต่างประเทศขอเรีย
กระทรวงการต่างประเทศขอย้ำว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น